บทความ

บทความเรื่องที่5

บทความ ภาษาไทยกับวัยรุ่นไทย สังคมเราในปัจจุบันนี้โลกเราได้มีเทคโนโลยีมาเกี่ยวข้องอย่างมากในชีวิตของคนไทยเรา ทำให้มีความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวันรวมทั้งการสื่อสารด้วย ซึ่งในประเทศไทยนี้เยาวชนยุคใหม่บางส่วนได้นำค่านิยมผิด ๆ มาใช้กัน นั้นก็คือการใช้ภาษาไทยที่ผิด โดยเยาวชนกลุ่มนั้นคิดว่าเมื่อใช้แล้วมันเก๋ดี มันเท่ห์ดี แต่หารู้ไม่ว่าอาจจะทำให้ภาษาไทยของเราเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิงและทำให้เยาวชนยุคหลังๆใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องตามไปด้วย ประเทศไทยของเรามีภาษาเป็นของตนเองแสดงออกถึงความเป็นเอกราชและความภาคภูมิใจของคนไทยเรา ภาษาไทยเป็นมรดกของคนไทยมายาวนาน แต่เยาวชนยุคบางส่วนใหม่กลับไม่รู้คุณค่าของมันเลย         การใช้ภาษาไทยที่ผิด ๆ ของวัยรุ่นนั้นเป็นสิ่งที่จะทำให้ภาษาไทยวิบัติลงไปจริง ๆ ซึ่งจะเห็นได้จากที่วัยรุ่นใช้สื่อสารกันทาง  msn  เช่นคำว่า ทามอะไรอยู่-ทำอะไรอยู่ เปนอะไร-เป็นอะไร เพราะคำเหล่านี้ทำให้พิมพ์ง่าย สื่อสารกันได้เร็ว และดูเก๋ด้วย แต่ถ้าคิดอีกแง่มุมหนึ่ง การที่ภาษาไทย 1คำ สามารถเขียนได้หลายแบบ เพราะภาษาไทยมีพยัญขนะที่ออกเสียงเหมือน ๆ กัน มีสระที่เสียงคล้าย ๆ กัน จึงทำให้สามารถเขียนอ

บทความเรื่องที่4

เพื่อนแท้ของชีวิต จะว่าไป  " เพื่อน"   ก็อาจเปรียบเหมือน  " เครื่องดื่ม"   ที่มีอยู่มากมายหลายยี่ห้อในโลกทุกขวดอยู่ในแพ็กเกจที่สวยสดใส เห็นแล้วชวนดื่มแต่ก็ไม่รู้ว่าถ้าได้ดื่มแล้วรสชาติจะเป็นแบบไหน            ชีวิตของคนเราไม่อาจขาดเครื่องดื่มแต่วิธีเดียวที่จะรู้ได้ว่าเครื่องดื่มขวดไหนคือขวดที่เราชอบและโปรดปรานที่สุดชนิดที่ว่าสามารถดื่มไปได้ตลอดชีวิตก็คือเราต้องลองเสียเงินซื้อมายอมเสียเวลาเปิดขวดแล้วลองดื่มให้รู้กันไปว่าใช่หรือไม่ใช่            อาจมีหลายครั้ง....ที่เครื่องดื่มบางขวดทำให้เราต้องพะอืดพะอมจนต้องบ้วนทิ้งก็เหมือนกันกับเพื่อนแย่ๆบางคนที่ยิ่งคบยิ่งทำให้ชีวิตเรากระดำกระด่าง วุ่นวาย ยุ่งเหยิงจนในที่สุดเราต้องยอมตัดใจโละความสัมพันธ์ที่เคยคิดว่ามีค่านั้นทิ้งไปแล้วไปเริ่มต้นทดลองเปิดขวดใหม่ดูอีกครั้ง            ในวัยเด็กเราอาจเคยคิดว่าการมีเพื่อนเยอะๆนั้นมันดีเพราะเพื่อนคือสิ่งที่ทำให้ชีวิตมีสีสัน สนุกสนาน ตื่นเต้นแต่เมื่อวันเวลาได้ผ่านไป   เมื่อเราได้เรียนรู้อะไรๆมากขึ้น ความหมายของคำว่า "เพื่อน" ก็จะค่อยๆเปลี่ยนแปลงไป เพื่อนอาจไม่ใช่เครื่

บทความเรื่องที่3

ขาเทียมปลุกฝันร้ายให้กลับมาเดินได้อีกครั้ง   ขาฉันหายไปไหน...ความทุกข์ทรมานใจที่รู้ว่า ตนต้องสูญเสียอวัยวะสำคัญของร่างกายเมื่อลืมตาขึ้นหลังจากการถูกตัดขา หากสามารถกำหนดชีวิตได้คงไม่มีใครที่อยากเป็นคนพิการขาขาดหรือถูกตัดขา   เป็นเรื่องที่ยากเกินกว่าจะรับความจริงที่เกิดขึ้นได้   และสิ่งสำคัญที่สุดที่เปรียบเสมือนชีวิตใหม่ของพวกเขาเหล่านั้นนั่นก็คือ “ ขาเทียม ”   ขาเทียม เป็นอุปกรณ์ที่สร้างความหวังและกำลังใจ ให้คนที่ไม่สามารถเดินได้ให้กลับมาเดินได้อีกครั้ง ขาเทียม ( Prosthetic Leg) อุปกรณ์ที่มีกลไกและการออกแบบให้มีลักษณะคล้ายกับการทำงานของขาตามธรรมชาติ สำหรับการทรงตัว เดิน และเคลื่อนไปในทิศทางต่าง ๆ  ซึ่งมีข้อดีต่อผู้ป่วยที่ต้องเสียขาไปจากอุบัติเหตุหรือการเจ็บป่วยต่าง ๆ ปัจจุบัน ขาเทียมสามารถสร้างขึ้นมาได้จากวัสดุหลากหลายชนิด  ซึ่งการสร้างขาเทียมนี้ ก็เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำเนินชีวิตและทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองต่อไปได้ ปัจจุบัน การให้ผู้ป่วยใส่ขาเทียมเป็นแนวทางหนึ่งของการช่วยเหลือทางการแพทย์ ซึ่งมีสาเหตุมาจากข้อมูลดังต่อไปนี้ ·          ระบบหมุนเวียนโลหิตสร้างความเจ็บปวด ผู้ป่วยท

บทความเรื่องที่2

  บทความเพื่อลูกรัก ,  สาระน่ารู้ เจ้าเชื้อโรคร้าย คืออะไร ? เชื้อ แบคทีเรียตัวร้ายที่แผลงฤทธิ์ จนก่อให้เกิดโรคอันตรายในเด็ก ที่อยากให้คุณพ่อคุณแม่รู้จัก คือเจ้าเชื้อนิวโมคอคคัส และเชื้อเอ็นทีเอชไอ(ฮีโมฟีลุส อินฟลูเอ็นซา ชนิดไม่มีเปลือกหุ้ม) ….. เชื้อโรคอะไรไม่รู้ ชื่อเรียกก็ยาก มาลองรู้จักกันหน่อยดีไหม ? เชื้อนิวโมคอคคัสเป็นเชื้อแบคทีเรีย ที่พบได้ 21%-59% ในโพรงจมูกและลำคอของเด็กที่แข็งแรงดี ส่วนเชื้อเอ็นทีเอชไอพบได้ในโพรงจมูกและลำคอได้ถึง 60%-90% ของเด็กที่แข็งแรงดี เชื้อโรค 2 ชนิดนี้อาศัยอยู่ในร่างกายของเด็ก โดยส่วนใหญ่จะไม่ก่อโรค แต่เมื่อใดที่ร่างกายอ่อนแอ เช่นป่วยเป็นหวัด ติดเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจ เชื้อโรค 2 ชนิดนี้จะเข้าไปในอวัยวะต่างๆก่อให้เกิดอันตรายได้ เชื้อนิวโมคอคคัส และเชื้อเอ็นทีเอชไอ ในเด็กเล็กๆที่ภูมิต้านทานยังไม่แข็งแรงเป็นสาเหตุของการติดเชื้อที่รุนแรง ที่เยื่อหุ้มสมองและในกระแสเลือดและยังเป็นสาเหตุหลักในการก่อให้เกิดโรคติด เชื้อทางเดินหายใจ เช่น หูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ หลอดลมอักเสบ ปอดบวม เป็นต้น นอกจากนี้เชื้อเอ็นทีเอชไอยังทำให้เป็นโรคตาแดง เยื่อบุตาอักเส

บทความเรื่องที่1

  ภาพอดีต...ความในใจ...ถึง ครูสามารถ    พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.  2525  ได้บัญญัติไว้ว่า ครู หมายถึงผู้สั่งสอนศิษย์ ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ มาจากภาษา  บาลีสันสกฤตว่า ครุ คุรุ หมายถึง หนัก สูง ใหญ่   หลอมรวมความหมายแล้วไม่กระดากอายเลยที่จะนำมาใช้กับบุคคลคนหนึ่งที่ปฏิบัติ    หน้าที่ “ ครู , ครุ , คุรุ ,” บุคคลท่านนั้นคือคุณครูสามารถ จุลวรรณา              คุณครูสามารถ จุลวรรณา เท่าที่ข้าพเจ้าจำได้ ตั้งแต่ปี  2517     ปีแรกที่เข้ามาเป็นศิษย์ - ครู จวบจนถึงปัจจุบัน ครูก็ยังเป็นครูคนเดิม มีความตั้งใจจริง  ปรารถนาดีต่อศิษย์ทุกคน       เด็กคนไหนมีปัญหาครูจะเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือโดยไม่ลังเลใจ อดีตบ้านครูมีเด็กนักเรียน     ที่ลำบาก    บ้านอยู่ไกล   การจราจรไปมาไม่สะดวก มาอยู่กับครูมากมาย  ปัจจุบันสภาพสังคมเปลี่ยนไป ความเจริญทางด้านวัตถุต่างๆ มีมาก   ขึ้นนั้นมิได้หมายความว่าผู้คนเจริญตามวัตถุได้หมด ยังเด็กนักเรียนที่ลำบาก บ้านไกล มาอาศัยอยู่กับครูเหมือนเดิม   และจากเหตูนี้มีผลสืบเนื่องมาถึงความสัมพันธ์อันดีระหว่างบ้าน ชุมชน โรงเรียน             ครูคือนักจิตวิทยาชั้นเยี่ยม ข้
Impact of a SystemCHANGE™ Intervention on Medication Adherence in Older Adults With Heart Failure: A Feasibility Study. Abstract The purpose of the current study was to examine the feasibility and acceptability of a SystemCHANGE™ intervention in improving medication adherence in older adults with heart failure (HF). Adults age ≥50 years with HF who self-administered diuretics were screened for 2 months using electronic monitoring to determine baseline adherence scores. Participants were randomized into the SystemCHANGE™ or attention-control group if adherence scores were <88%. The SystemCHANGE™ intervention focuses on changing the individual's environment by including medication taking into existing routines, receiving support from individuals who impact routines, and using small experiments with feedback. Challenges were noted by participants in using the electronic medication monitor technology during the screening phase. Lessons learned from this study emphasize the nee
[Sensitivity and resistance to antimicrobial agents ESBL-producing and not producing ESBL strains of E. coli in patients with urinary tract infection.] Abstract As a result of the conducted researches it is shown that 44.1% of urinary tract infections (UTIS) caused by E. coli are accounted for by producers of beta-lactamase of the extended spectrum of action (ESBL). Associated resistance to fluoroquinolones and co-trimoxazole was found in 93.3% of BLRS-producing E. coli strains. All studied strains regardless of ESBL production were sensitive to imipenem, the majority showed sensitivity to ertapenem, gentamicin and resistance to doxycycline. Not producing ESBL strains of E. coli were sensitive to fosfomycin. Comparison of data obtained during testing of isolated cultures on ESBL, study of their sensitivity and resistance to beta-lactams (amoxicillin/clavulanate, ceftazidime, ceftriaxone, cefotaxime, imipenem) indicates the need to test isolates for AmpC products. To this end, dur