บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2019

ดวงพร 2

รูปภาพ

รูปครอบครัว

รูปภาพ

QR code

รูปภาพ

โคตรเลวในดวงใจ - ตั๊กแตน ชลดา 【LYRIC VIDEO】

รูปภาพ

บทคัดย่อภาษาไทย เรื่องที่5

รายงานการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภาษาสุภาพ รายวิชาภาษาญี่ปุ่น 6 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรง   การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภาษาสุภาพ รายวิชาภาษาญี่ปุ่น 6 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภาษาสุภาพ รายวิชาภาษาญี่ปุ่น 6 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภาษาสุภาพ รายวิชาภาษาญี่ปุ่น 6 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/14 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 รวมนักเรียนทั้งหมด 47 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เนื่องจากผู้รายงานเป็นผู้รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนในห้องดังกล่าว เครื่องมือท

บทคัดย่อภาษาไทย เรื่องที่ 4

การส่งเสริมทักษะการเขียน ตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ   เนื่องจากการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษนั้น มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องมีพื้นฐานความรู้ทางด้านกระบวนการทักษะทั้ง 4 คือ จะต้องสามารถฟัง พูด อ่าน และเขียน ตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษได้ เพราะหากว่าถ้านักเรียนขาดทักษะกระบวนการทักษะด้านใดด้านหนึ่งแล้ว ก็จะเป็นปัญหาที่สำคัญมากแก่ผู้เรียนและครูผู้สอน เพราะจะทำให้การเรียนการสอนขาดประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาวิชานี้ไม่ดีเท่าที่ควร จากการที่ได้สอนนักเรียนทั้งระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ได้พบว่านักเรียนได้เรียนเนื้อหาเกี่ยวกับระบบจำนวนเหมือนกัน และนักเรียนบางคนยังขาดทักษะกระบวนการเขียนอยู่ ดังนั้นจึงเห็นควรนำนักเรียนที่ยังขาดทักษะนี้ทั้ง 2 ระดับชั้นมาทำการวิจัยในชั้นเรียน จากการศึกษาและวิเคราะห์คะแนนที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียนนั้นแสดงให้เห็นว่านักเรียนยังไม่มีพื้นฐานความรู้คำศัพท์เกี่ยวกับตัวเลขเป็นภาษาอังกฤษ หรือมีพื้นฐานความรู้มาบ้างแต่ไม่สามารถจดจำคำศัพท์เหล่านั้นได้ แต่หลังจากนักเรียนได้เรียน และทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติม ทำให้นักเรียนมีความรู้ ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์ และสามา
กำเนิด “ สภาการศึกษาแห่งชาติ ”   สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ในปัจจุบันมีจุดกำเนิดมาจากสภามหาวิทยาลัยแห่งชาติ ซึ่งจัดตั้งขึ้นในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๔๙๙ เนื่องจากขณะนั้นมีมหาวิทยาลัยอยู่ต่างสังกัดกัน ๕ แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นอิสระ มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นโรงเรียนศิลปากรและกำลังจะเป็นมหาวิทยาลัยอยู่ในกรมศิลปากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ คือ โรงพยาบาลศิริราช สังกัดกระทรวงสาธารณสุข           เพื่อที่จะพัฒนามหาวิทยาลัยให้เข้มแข็งและมีเสถียรภาพสูง เซอร์ ชาร์ลส์ ดาร์วิน ที่ปรึกษายูเนสโกขณะนั้นเสนอแนะว่า ต้องนำมารวมกันเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัย คือ มหาวิทยาลัยแห่งชาติ จึงมีการเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา แต่รัฐมนตรีบางท่านไม่เห็นด้วย จึงจัดตั้งเป็น “ สภามหาวิทยาลัยแห่งชาติ ” ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธาน มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม รัฐ

บทคัดย่อภาษาไทย เรื่องที่3

รายงานผลการพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง กลุ่มสาระการวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2   ที่มีประสิทธิภาพ   80/80  2) เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนสำเร็จรูป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน   4) เพื่อศึกษา ความพึงพอใจในการเรียนด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง  ทำการศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง   นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2 /1   ภาคเรียนที่   2  ปีการศึกษา   2550    โรงเรียนคูเมืองวิทยาคม   อำเภอคูเมือง  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์   เขต 4     จำนวน   37   คน   ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง   (Purposive  Sampling)   เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา   ได้แก่   บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง   จำนวน   7  เรื่อง      แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน   เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบชนิด   4   ตัวเลือก       จำน

บทคัดย่อ ภาษาไทย เรื่องที่2

“ ลิ้นชัก ”   วารสารไทย http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/history.html http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/history.html ศูนย์ TCI เริ่มต้นจากความสนใจของหัวหน้าโครงการ คือ อาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ แห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรพระจอมเกล้าธนบุรี โดยในปี พ.ศ. 2543 อาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ และได้มีโอกาสพบกับทีมบริหารของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) อาทิ เช่น ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช , ศ.ดร.วิชัย บุญแสง , ศ.ดร.ยอดหทัย เทพธรานนท์ , ศ.ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ , ศ.ดร.มรว.ชิษณุสรร สวัสดิวัฒน์ , ผศ.วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน และท่านอื่นๆ ซึ่งท่านเหล่านี้ได้ปรารภว่า ตอนนี้อาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ได้เป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่แล้ว บทความที่จะตีพิมพ์ต่อไปควรลงพิมพ์ในวารสารที่มีค่า Journal Impact Factors (JIF) สูงขึ้น ประเด็นนี้ ทำให้อาจารย์ ณรงค์ฤทธิ์ เกิดความสนใจว่า JIF คืออะไร มีผลกระทบกับคุณภาพของบทความอย่างไร วารสารไทย มีค่า JIF หรือไม่ ดังนั้น อาจารย์ณรงค์ฤทธิ์จึงได้สร้างทีมวิจัยขึ้นมาเพื่อศึกษาวิจัยในเรื่องนี้ โดย

บทคัดย่อ ภาษาไทย เรื่องที่1

บทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอนของครูตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอน ของครู เปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอนของครูจำแนกตามขนาดของ โรงเรียน ศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการสอนของครูผู้สอนจากผู้บริหารโรงเรียน ตามความ คิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้จากการสุ่มอย่างง่ายครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา 30 โรง จำนวน 266 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ ( check list ) และคำถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัธยฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยในเรื่องบทบาทผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการสอนของครู พบว่า ด้านการปฏิบัติหน้าที่ด้านการเรียนการสอน ผู้บริหารส่งเสริมมากที่สุด คือ การอนุญาตให้ครูพานักเรียนศึกษาดูงานในแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ส่งเสริมน้อยที่สุด คือ ผู้บริหารเยี่ยมชั้นเรีย

Portfolio ครูดวงพร

รูปภาพ
รูปภาพ
วิเคราะห์โครงสร้างพื้นฐานของสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาลบ้านมหาชัย เครื่องคอมพิวเตอร์ 83 เครื่อง ไวไฟ 4 จุด เครือข่าย TOT สารสนเทศใช้ของกระทรวง
รูปภาพ
                                                             นางดวงพร   กลิ่นเกษร                                                           โรงเรียนเทศบาลบ้านมหาชัย                                                                   ต.มหาชัย  อ.เมือง                                                                        จ.สมุทรสาคร